กลับสู่หน้าหลัก
 
อนุรักษ์พันธุกรรมพืช
คลังข้อมูลพฤกษศาสตร์
wikibotany
บล็อกพันธุ์พรรณไม้
 
 

  ผลการดำเนินงาน

  องค์ประกอบที่  1  การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
  1. ออกแบบและจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ โดยพิมพ์ลงกระดาษ A4 พับครึ่งแล้วเคลือบด้วย
      เพื่อป้องกันน้ำเข้าได้จัดทำป้ายชื่อพรรณไม้แบบสมบูรณ์ นำป้ายชื่อติดตามต้นไม้
     ในบริเวณ 7 โซน  จำนวน  122  ป้าย โดยใช้วิธีแขวนตามต้นไม้แล้วใช้เชือกเอ็น
      ผูกติดกับต้นไม้ ส่วนต้นไมเล็กใช้เสาปักก่อนแล้วจึงติดป้ายและ ข้อมูลที่ใช้ในการเรียน
      ป้ายชื่อประกอบด้วย ชื่อพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ชื่อ-สามัญและประโยชน์ 

 
ภาพที่  1  ป้ายชื่อพรรณไม้แบบสมบูรณ์

  2. แผนผังแสดงตำแหน่งพรรณไม้
     2.1 กำหนดพื้นที่ศึกษา


ตารางที่ 1  แผนผังพรรณไม้กำหนดพื้นที่ศึกษา

     2.2 ทำแผนผังพรรณไม้โซนต่างๆ  และแผนผังรวมทุกโซน

ารางที่ 2  แผนผังพรรณไม้รวมทุกโซน   7  โซน   พืช  122  ชนิด

     2.3 ทำตัวอย่างพรรณไม้ (แห้ง/ ดอง/ เฉพาะส่วน)  


ภาพที่ 2   นักเรียนเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง

  องค์ประกอบที่ 2  การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกเพิ่ม
  1. ได้นำไปปลูกและดูแลรักษาตามสวนพรรณไม้ โดยคณะบาทหลวงได้นำไม้ต้นใหญ่เข้ามาปลูก     
       จำนวน 6 ต้น พืช   5   ชนิด   คือ
        1.1 หูกระจง  2  ต้น  ปลูกคู่กันไว้ที่หน้าวัดพระมารดา ฯ   โซน 2 
        1.2 มะกา 1 ต้น  ปลูกบริเวณประตู   4    โซน  7
        1.3 แคนา 1   ต้น    ปลูกบริเวณประตู 4  โซน  7
        1.4 พยุง 1 ต้น   ปลูกบริเวณข้างลานจอดรถ  โซน 7
        1.5 มะเกลือ  1  ต้น  ปลูกบริเวณข้างลานจอดรถ หน้าอาคาร 3  โซน  7

ภาพที่ 3  หูกระจง
ภาพที่  4  มะกา
ภาพที่  5  แคนา
ภาพที่ 6 พยุง
ภาพที่ 7 มะเกลือ

  2.  การเพาะพันธุ์   พันธุ์ไม้ที่ได้จากการเพาะในกิจกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ,6
      เป็นไม้คาบปี   เช่น กนกนารี เดฟ พลูด่าง เป็นต้น พืชที่นำเข้าปลูก มีจำนวน 150 ต้น   

ภาพที่ 8 นักเรียนขยายพันธุ์พืชและปลูก
ภาพที่ 9 นักเรียนดูแลรักษาพืชที่ปลูก
ภาพที่ 10 ผลงานของนักเรียนชั้น ป. 5  
ภาพที่ 11 ผลงานของนักเรียนชั้น ป. 6